เว็บนี้เป็นเพียงสื่อกลางสาระด้านยา ก่อนนำข้อมูลใดๆไปใช้ ประเมินความถูกต้องทุกครั้ง

วันเสาร์ที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2559

Antimicrobial therapy stewardship program คืออะไร? / ทำไมทุกโรงพยาบาลถึงตื่นตัว?


 ตัวอย่างการเฝ้าระวังการดื้อยาของเชื้อ จาก http://narst.dmsc.moph.go.th/   ดูเพิ่มเติม Click



    Antimicrobial stewardship (ASP) คือ  การให้ ATB ที่เหมาะสมทั้งชนิด ขนาดและระยะเวลาในการให้ยา ซึ่ง CDC แนะนำให้ทุกร.พ.ทำ “antibiotic stewardship programs” คือการจัดตั้งทีมที่ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญเข้าควบคุมการใช้ ATB ให้ถูกต้อง โดยใช้วิธีต่างๆ Click  


ความรู้

1. IDSA :  Promoting Antimicrobial Stewardship in Human Medicine  Click
2. ความรู้ทั่วไปก่อนจัดตั้งทีม Click  และ ความรู้อื่นๆ...
      2.1  PK/PD Approach to Antibiotic Therapy Click 
      2.2  การใช้ PK/PD ในทางปฏิบัติ ( อ.ปรีชา เภสัช มหิดล) Click
    2.3  ความรู้ในการประยุกต์ใช้ในการดูแล การใช้ยาantibiotic อย่างสมเหตุสมผล ( อ.สุทธิพร เภสัช ม.อ.) Click 
      2.4 การใช้ยาฆ่าเชื้อเพื่อป้องกันเชื้อดื้อยาแกรมลบ Click
    2.5 เนื้อหางานประชุม infection  ปี 2556  Click
    2.6 ประยุกต์ใช้ PK/PD antibiotic ( อ.ปวีณา เภสัช ม.นเรศวร) Click
    2.7 dosing regimen consideration Click 
    2.8 multidrug-Resistant pesudomonas aeruginosa Click
    2.9 สถานการณ์ดื้อยาแบคทีเรียแกรมบวก Click / แกรมลบ Click
    2.10 การใช้ยา Colistin ในสถานการณ์เชื้อดื้อยา Click
    2.11 การปรับขนาดยาฆ่าเชื้อ ในผู้ป่วยไตบกพร่อง Click
    2.12 ปริมาณการใช้ยากับการดื้อยา Click
    2.13  DUE : fosfomycin Click  / Colistin  Click 
    2.14  CAP / HAP in thailand  Click 
    2.15  MRSA  Click
    2.16 Nosocomial infection Click 
    2.17  การอ่าน Lab ใน infection Click 
    2.18 Over view infection ใน ผู้ป่วยเบาหวาน Click  /  Diabetes Foot infection  Click 

3. ทำไม มีทีม IC มีการใช้ DUE ยังไม่สำเร็จ ...นำไปสู่ การใช้ ASP  Click 
4. ผลการดำเนินงานมาตรการดูแล ที่ผ่านมา Click 
5. การดำเนินงานของ ศิริราช ทีม ic  Click /  วิธีปฏิบัติของศิริราช Click 



ตัวอย่างวิจัย

1.วิจัย  การใช้ meropenem ในการติดเชื้อกระแสเลือด Click
2. วิจัยตัวอย่างที่มีการนำ ASP มาใช้ โดยมีเภสัช เป็นทีมร่วม  (ดีมาก)  Click 


แนะนำหนังสือ 

ปูทางสำหรับความรู้ด้าน infection)   มี 3 เล่ม  ( 2011-2012-2014 )   



 ติดต่อสั่งซื้อ ภาควิชาเภสัชกรรมคลินิก ชั้น3 อาคาร1 คณะเภสัชศาตร์
โทร 074-288872 (web) หรือ ทาง ศูนย์หนังสือจุฬา Click (แจ้ง3เล่ม)




กำลังreviewยังไม่จบ..........