หน้าเว็บ

วันศุกร์ที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

การเก็บหน่วยการศึกษาต่อเนื่องของผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม

เนื่องจากตอนนี้มีข้อบังคับสภาเภสัชกรรมว่าด้วยการจัดการศึกษาต่อเนื่องแก่ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ. 2558 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเรียบร้อยแล้ว มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ.2558 เป็นต้นไป



--------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขั้นตอนการเปิดทะเบียนเพื่อเก็บหน่วยกิต

1. เข้าเว็บสภาเภสัช  กดลงทะเบียน (ต้องใช้รูปถ่ายบัตรประชาชนด้วย)

2. เข้าเว็บเก็บหน่วยกิต กด เพื่อเช็คข้อมูลหรือติดตามช่องทางการเก็บหน่วยกิตต่างๆ

วันศุกร์ที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2558

Renal Clinic

1. ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม HD  2557  Click
2. วารสารสมาคมโรคไต Click
3. บำบัดไตทดแทน 2552 Click
4. ภาวะแทรกซ้อนทางไต ในผู้ป่วยเบาหวาน ความดัน Click
5. คู่มือความรู้ สำหรับผู้ป่วย Click1 / Click2 
6. CKD 2558 Click 
7. ตัวอย่าง overall drug adjust Click 
8. ตัวอย่างตารางยาที่ปรับในคนไข้ไต Click


กำลัง review



แนะนำ!!!  ควรมี สำหรับเภสัชกร  คู่มือหนังสือเล่มนี้อธิบายได้ดีมาก ครบองค์ประกอบ
สั่งได้ที่สมาคมเภสัช โรงพยาบาล

วันพุธที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2558

จุดเน้นการเตรียมยา

1. เทคนิคที่มั่นใจในความถูกต้อง  เช่น   ขั้นตอนการชั่ง นำสารมา ด้วยเทคนิค Aliquot method  Click

2. เทคนิคป้องกันการปนเปื้อน  ด้วย Aseptic technique  Click 

มีอีก  รอ review ...

วันอาทิตย์ที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

การใช้ NSAIDs



         Coxib เทียบกับ traditional NSAIDs ทั่วไป    

วันพุธที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

สอนล้างจมูก ในคนที่มีน้ำมูก

หลายครั้งที่มีปัญหากับการสอนคนไข้ล้างจมูกด้วยน้ำเกลือ   วันนี้จะเอาวิดีโอสอนล้าง ทั้งแบบผู้ใหญ่และแบบเด็กน้อยมาให้ดูกัน

ก่อนดูวิดีโอ ให้ปิดเพลงในเว็บก่อน กดคลิกที่ตรงลูกศรดังภาพ




1. แบบผู้ใหญ่ 


2.  สำหรับเด็กน้อย : ปัญหาหลักสำหรับเด็ก คือ เด็กจะไม่สามารถกลั้นหายใจได้นาน จะมีเทคนิคที่ช่วย  
ขอเน้นย้ำอย่าล็อคตัวเด็ก  สังเกตถ้าเด็กขัดขืนหรือกลัวจะทำให้หายใจกระชาก สำลักน้ำเกลือได้ 

วันอาทิตย์ที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

Refilled Clinic คลินิกเติมยา

ส่วนตัวโรงพยาบาลที่ทำอยู่ยังไม่สามารถทำได้ วันนี้จั๋วสิ่งที่หามาได้ไปก่อน  ไอเดียสำหรับการทำ ...

1. ร่างโครงการ Click
2.  โรงพยาบาลลำปาง [ ขั้นตอน] / [ แผนภาพ

วันอาทิตย์ที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

Emergency care : hypertension


คำถาม

+ คนไข้ เคสฉุกเฉินใช้ยาลดความดันตัวใด .... จะใช้ตัวใด ขึ้นกับสภาวะและโรคของคนไข้ที่เป็นอยู่
+ ยาที่มีใช้ในโรงพยาบาลตัวไหนที่เหมาะสม ตัวไหนเป็นข้อห้าม ข้อหลีกเลี่ยง
+ เมื่ออาการดีขึ้น  การพิจารณายาลดความดันในคนไข้ที่จำเป็นต้องได้ยาลดความดันต่อเนื่อง จะใช้ยาใด

คำตอบศึกษาได้จาก...

1. การดูแลผู้ป่วยความดันสูงในห้องฉุกเฉิน  Click [1] / [2
2. ของ ม.นเรศวร Click
3. ตามแนวทาง 2013 ESH/ESC Guidelines ของ รพ.ศิริราช Click
4. ยกตัวอย่าง ระบบงานฉุกเฉินของ รพ.ยโสธร Click

วันเสาร์ที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

การประเมินการทำงานของไต


สืบเนื่องจาก  เมื่อไม่นานมานี้ 

พี่ที่ทำงานได้รับโทรศัพท์ เรื่องการปรับขนาดยา allopurinol ในคนไข้ไตเสื่อม  

ขณะที่กำลังคำนวณ Crcl จึงมีคำถามว่าทำไม ค่าที่คำนวณได้ อ้างอิงในแต่ละสมการไม่เท่ากันและอันไหนดีกว่ากัน  

วันนี้จึงขอหยิบยก บทความนี้มาให้อ่านกัน  Click 



วันจันทร์ที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2558

Drug indentification database


1. คณะเภสัชฯ ม.อุบลราชธานี  Link



2. ของ Medscape ง่ายๆเพียงเลือกข้อมูลก็แสดงภาพยาขึ้นมาให้ทันที (ปลื้มอันนี้เป็นพิเศษ) link จะค้นหาใหม่กด Clear all ข้างๆนะ

วันอังคารที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2558

คลินิกโรคหลอดเลือดหัวใจ

เว็บที่เกี่ยวข้องกับคลินิก
สมาคมโรคหลอดเลือดแดงสมาคมแพทย์โรคหัวใจมูลนิธิหัวใจแห่งประเทศไทย

1. แนวทางเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษาภาวะหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557  Click

2. แนวเวชปฏิบัติ โรคหัวใจขาดเลือด 2557  Click 

3. แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก  2556  คลิก

4. แนวทางการรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน 2555  คลิก




และ link แนวเวชปฏิบัติอื่นๆ คลิก-->>  





วันจันทร์ที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2558

HAP, VAP and HCAP Guidelines: from Guidelines to Clinical Practice

1. วิภา รีชัยพิชิตกุล หนวยโรคระบบการหายใจและเวชบําบัดวิกฤต ภาควิชาอายุรศาสตรคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน  Click

วันอาทิตย์ที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2558

Skin test ด้านยา



Skin test สำหรับ type1 เท่านั้น และ Type 4 มี Skin patch test อ่านเพิ่มเติม Click


1. บทนำ Click
2. แนวทางโรงพยาบาลต่างๆ
    2.1 รพ ระโนด Click

    2.2. รพ ค่ายจิรประวัติ Click
    2.3 รพ. ลำพูน Click
    2.4 รพ กาฬสินธุ์ Click
    2.5 รพ. สงขลา Click
   2.6 cef3 ;med cmu Click
   2.7 รพ.สหัสขันธ์ (ละเอียดดี) Click
2. Skin testing for
   2.1 IgE-mediated drug allergy Click
   2.2 delayed reactions to drugs Click
3. แนะนำการรักษาแบบ Allergy immunotherapy Click




คลินิก COPD/Asthma

1. ตัวอย่างการจัดการระบบงาน ที่ตึกอุบัติเหตุ Click แบบบันทึก Click
2. เอกสารการดำเนินงานคลินิก จาก Easy Asthma/Copd clinic  Click
3. บทความ นพ.วัชรา  Click
4. Trend COPD Click
5. เอกสาร asthma ในเด็ก  Click
6. management asthma in child ภาคกุมารฯ จุฬา click 
7. ความรู้ทางเภสัชกรรม  ภญ.สิริมา PSU  Click


8. ตัวอย่าง แบบประเมินความร่วมมือการใช้ยาตามสั่ง ของ ภญ อุไรวรรณ ตระการกิจวิชิต

9. แนวเวชปฏิบัติในคลินิก 
      9.1  แนวทางดูแลผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง 2553 Click  สไลด์ Click
      9.2  แนวทางดูแลผู้ป่วยหอบหืด 2551 Click
      9.3  แนวทางดูแลผู้ป่วยโรคหอบหืดในเด็กและผู้ใหญ่ 2555 Click
       9.4 คู่มือความรู้มือเกี่ยวกับโรคระบบทางเดินหายใจ (สีฟ้า-ฉบับพกพา)  Click
      9.5 คู่มือความรู้มือเกี่ยวกับโรคระบบทางเดินหายใจ (สีเขียว)   Click
10.  ไซนัสอักเสบเรื้อรัง Click
11. PDF สอนคนไข้ ความรู้/การใช้ยาพ่นในโรคหอบหืด รพ.มหาราชนครศรีฯ  Click




website  Easy Asthma/ COPD clinic    Click

วันเสาร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2558

warfarin clinic

ข้อมูลที่จำเป็น ใน warfarin network (จากninerx.com) คลิก

1. med kku ข้อมูลพื้นฐาน+การปรับยา  click
2. การจัดตั้งเครือข่ายคลินิกวาร์ฟาริน (warfarin network)  click
3. ความรู้พิ้นฐาน ก่อนทำคลินิก Click
     3.1  แนะนำยาที่ใช้ในระบบเลือดที่สำคัญ
4. งานวิจัย ทบทวนการใช้ยาบนตึก Click
5. ของพยาบาล click
6. การดูแลกรณีคนไข้ มี INR สูง  Click 
7.  การจัดการกรณีผ่าตัดหรือทำหัตถการ 
     7.1  หยุดยาก่อนผ่าตัด  รพ แพร่ Click 
     7.2  แนวทางทั้งหมดรวมทั้ง Bridging Anticoagulation (+ แนวทางของยาใหม่ )  Click 
8. Drug-Drug interaction   ดูเพิ่มเติมและข้อมูลอื่นๆ (Updated Guidelines on Outpatient Anticoagulation) Click
most drug affect ที่ต้อง adjust dose อย่างใกล้ชิด(ตารางล่าง) ดูเพิ่ม คลิก

9. Anticoagulant associated bleeding complication  Click 

10. ทบทวนก่อนสับสน ความแตกต่างระหว่าง ยากันเลือดแข็งตัว ยาต้านเกล็ดเลือดและยาสลายลิ่มเลือด คลิก 

ไม่จบ ยัง review อยู่ ...... 


เพจแนะนำ thaicardiology คลิก


วันศุกร์ที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2558

Antidote ในโรงพยาบาล



1. เทียบบัญชีจาก บัญชียาหลักแห่งชาติ  คลิก

2. จากแพทย์รามา มหิดล  คลิก

3. ศูนย์พิษวิทยา กรมวิทย์ คลิก

4. จาก โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย คลิก

5. จาก โรงพยาบาลสงขลา คลิก

6. Acetylcysteine inj  ,Activated Charcoal,  Kayexalate ,Fuller’s Earth , Pralidoxime  (2 PAM)     คลิก

7. ตัว PDF EHG version  ชื่อ TP information on Antidotes  คลิก

8. PDF ของ รพ บางละมุง ชลบุรี อ้างอิงจาก rama poison center   คลิก


9. กลุ่มอาการพิษที่พบบ่อยในผู้ป่วยที่ได้รับสารพิษ  คลิก /  คลิก


วันพฤหัสบดีที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2558

DRUG-INDUCED NEPHROTOXICITY

Edit :  บุญธรรม จิระจันทร์

Management of Status Epilepticus


1. For Child  Click
2. For Adult  Click
***** Refer :  1-2 ; รศ.นพ. สมศักดิ์ เทียมเก่า สาขาประสาทวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ***

3. แนวทางการรักษาโรคลมชัก Click Epilepsy : Clinical Practice Guidelines  2549  //  ปรับปรุง ล่าสุด 2554 Click 


ประเด็นเรื่องอัตราเร็วในการให้+ขนาดยาสูงสุด ต้องไม่เกิน limite ที่กำหนด และประเมินการตอบสนองทุกครั้งหลังให้ยา Click Download file 


วันอังคารที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

การประชุมสมัชชาเภสัชกรรมไทย

เอกสารการประชุม  Click

          การประชุมเพื่อเตรียมการสมัชชาเภสัชกรรมไทย  เป็นความร่วมมือของสภาเภสัชกรรม ศูนย์ประสานงานการศึกษาเภสัชศาสตร์แห่งประเทศไทย (ศ.ศ.ภ.ท.) และองค์กรวิชาชีพต่างๆ ภายใต้การดำเนินการของคณะกรรมการจัดประชุมเตรียมการสมัชชาเภสัชกรรมไทย  บทบาทวิชาชีพเภสัชกรรมไทยและการศึกษาเภสัชศาสตร์ในศตวรรษหน้า ซึ่งได้มีการเตรียมการมาเป็นระยะๆ และมีแผนที่จะจัดการประชุมเตรียมการสมัชชาอย่างต่อเนื่องทุกปี เพื่อประมวลสถานการณ์ บทบาท กำลังคน แผนยุทธศาสตร์ ของสาขาต่างๆ ในวิชาชีพเภสัชกรรม ตลอดจนการกำหนดทิศทางของวิชาชีพเภสัชกรรมในอนาคต 

วันพฤหัสบดีที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

การวัดผลการกินยาสม่ำเสมอต่อเนื่อง

จาก คู่มืออ่านประกอบการให้การปรึกษาเพื่อการตรวจเอชไอวี สำหรับภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก



วันพุธที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

วันพุธที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

Trigger tool

1. การค้นหา จัดการ และป้องกันโรคที่เกิดจากยา  Click1 /Click2

วันเสาร์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2558

Drug interaction

1. รพ กาฬสินธุ์ Click เฉพาะ sig1
2.  รพ สบเมย Click  เฉพาะ sig1
3.  รพ แพร่  Click    มี Sig1 และที่ไม่รุนแรง 
4. รพ ระโนด Click 
5. รพ หัวหิน Click 
6. รพ มหาราชนครศรีธรรมราช Click 

การใช้ยาในหญิงท้อง

มีคำถามโทรมาจากห้องตรวจ เป็นน้องแพทย์ intern  พี่ค่ะๆ  คนไข้ท้อง 8 เดือน  ใช้ ranitidine กินได้ไหมค่ะ  อันที่จริงมันมีกรอบคิดง่ายๆอยู่ 2 อย่าง คือ
1.  ยานั้นคือ ยาในกรอบ category X หรือไม่  ถ้าใช่ ห้ามไปเลย
2.  กรณียาที่แบ่งตาม pregnancy category A-D   เป็นยาที่ใช้ได้หมดตามบริบท โดยต้องดูว่า..
      2.1   คนไข้ท้องในไตรมาสไหน  เพราะ  ยา 1 ตัว อาจถูกแบ่งข้อกำหนดเงื่อนไขในการใช้ในแต่ละ category ไม่เหมือนกัน  เช่น  ยาแก้ปวดกลุ่ม NSAIDs บางตัว  ใช้ได้ในไตรมาสแรก ห้ามไตรมาสที่2และ3 เป็นต้น
     2.2  ยานั้นส่งผลอย่างไรต่อเด็กในท้อง  เช่น  ยาก่อให้เกิดทารกวิรูป Teratogenic ก็ต้องห้ามใช้  แต่ถ้าข้อมูลยานั้น ไม่แน่ชัด  หรือข้อมูลไม่เพียง ระดับความรุนแรงก็อาจจะลดหย่อนลงไป  เช่น เกิดใน 1 คน จาก 1 แสนล้านคน   หรือ เกิดเฉพาะในสัตว์ทดลอง ไม่เกิดในมนุษย์ เป็นต้น 

ข้อมูลยาที่มีปรากฏในการฐานข้อมูลโรงพยาบาล/แหล่งต่างๆ
1. รพ ท่าคันโท จ.กาฬสินธุ์ Click
2. รพ ชลบุรี Click
3. รพ สงขลา  (ดีใช้ได้เลย แนะนำ)  Click
4. รพ ศิริราช (รวมยา cat X.)  Click
5. รพ ค่ายจิรประวัติ Click
6.  ภญ. สุวิมล ยี่ภู่  คณะเภสัช มศว. Click   ดีมากๆ เอกสารบรรยาย

วันอาทิตย์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2558

ตัวอย่าง แนวทางการจัดการด้านยา

1. Click 

ตัวอย่าง  โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
เนื้อหาสังเขป 
1. การสั่งยาเข้า / ตัดยาออก
2. มาตรฐานการสั่งใช้ยา รพ.
3. รายการยาอนุโลมเขียนย่อ
4. Look-alike Sound-alike Drugs
5. รายการยาที่มีหลายความแรง
6. รายการยาที่สั่งจ่ายได้กับผู้ป่วยทุกสิทธิ แต่มีเงื่อนไขในการสั่งจ่ายเพิ่มเติม
7. รายการยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ
8. การติดตามและประเมินความสมเหตุผลในการใช้ยา
9. ประเมินการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุสมผล
10. การส่งตรวจวัดระดับยาในเลือด
11. รายการยาที่ห้ามหักแบ่ง บด เคี้ยวหรือทำให้เม็ดยาแตก
12. ยากำพร้า กลุ่ม Antidote



2. ตัวอย่าง การวิจัย การประเมินการใช้ยาปฏิชีวนะที่ต้องใช้ใบประกอบการใช้ยาสำหรับผู้ป่วยใน โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก Click

3. เกณฑ์คุณภาพการใช้ยาในโรงพยาบาล  Click




วันพุธที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2558